Generalist Story

Dilemma: โอกาสที่หายไป หรือ ปัญหาที่ต้องแก้ไข

ตอนจะเขียนบทความนี้ก็นึกได้ว่าเราจะใช้คำไทยว่ายังไงดีนะ
ความย้อนแย้งไหม? ซึ่งอันนั้นก็มีคำว่า Paradox อธิบายอยู่แล้ว
สุดทายพอลองค้นดูก็พบกับคำแปลว่า “สภาวะกลืนไม่เข้า คายไม่ออก” หรือ “สภาวะยากลำบาก”

จาก ភ្នំព្រះ (phnom preah)พนมพระ ถึง ខ្នង​ថ្មទា (หินเป็ดดำ) กับเส้นทางเดินป่าที่เป็นเอกลักษณ์

#เปิดทริปสำรวจ​ Phnom preach mt./Khnong Preah​ & Phnom chromus barang​ mt.​ กัมพูชา​ รับ 15 คน🌳#เดินป่ากัมพูชา​ 5​ วัน​ 4​ คืน เป็นป่าที่มีความหลากหลายมาก​ เหมือนภูกระดึง​ เหมือนทุ่งแสลงหลวง​ เหมือนเขาบรรทัด​ เหมือน​มอลาอิ​ ให้ตายเถอะสวยแท้ พรรณไม้คงละลานตา

EP 115 : สายชาร์จดูดเงิน มันทำได้จริง ๆ ไหม

เล่าที่มาที่ไปของไอ้สิ่งที่ข่าวเรียกว่าสายชาร์จดูดเงิน ว่ามันทำงานยังไง

แล้วเอาจริง ๆ แล้ว มันดูดเงินเราได้จริงไหม มีอะไรที่ต้องกังวลกว่านั้นหรือเปล่า

เนื่องจากช่วงนี้มาข่าวเอาไปเล่นเยอะ เลยเอาที่มาที่ไปมาเล่าให้ฟัง แบบสั้น ๆ

ทริปปีใหม่ 2023 หวาหวาโจ ดอยหงอนไก่ ดอยปุย

เรื่องราวมันเริ่มต้นจากการมีแพลนสู่การไม่มีแพลน
คือจริงๆ ปีนี้ตั้งใจว่า ทริปปีใหม่จะเป็นการไปเดินแถว ๆ ลังกาน้อย ลังกาหลวง ดอยมด แถวนั้นกับป๋าคมรัฐ
แต่ก่อนหน้านั้นราว ๆ 1 – 2 เดือนก็มีเหตุที่ทริปต้องล่ม

แต่ช่วงนั้นชีวิตก็วุ่นวายมากคือมีงานที่ต้องปิด หลายงาน
และมีเรื่องเตรียมตัวไปวิ่งอินทนนท์มาเกี่ยวด้วยเลยปล่อยเบลอไป

มารู้ตัวอีกทีคือช่วง 2 อาทิตย์ก่อนปีใหม่แล้ว
จะต้องตัดสินใจว่าจะแกร่ว ๆ อยู่บ้านเตรียมตัวรับปีใหม่
หรือจะออกไปเดินป่าดี

2022 ปีแห่งความวายป่วง และผิดหวัง

นี่คือเรื่องสั้นของปี 2022
เรียน Barista
เรียนการแปล
ขึ้นรินจานี
ติดโควิด
เข้าวงการ car camp
ผ่าฟันครั้งแรก
และอื่น ๆ อีกมากมาย

EP 112 : Inthanon by UTMB 100 mile ที่ไปไม่ถึง

คร่าว ๆ สำหรับคนที่ไม่รู้จักอัลตร้าเทรล
อัลตร้าเทรลคือการวิ่งในภูเขา หรือป่าเขา ระยะไกล
ไกลที่ว่านี้อาจจะตั้งแต่ 50 กิโล 100 กิโล ไปจน 170 กิโลเมตร หรือ 100 ไมล์
นอกจากความไกลที่ทำร้ายนักวิ่งแล้ว อีกอย่างที่มีหน้าที่นวดนักวิ่งคือ ความชัน
ความชันอาจไล่ไปตั้งแต่ 3000 เมตร ไปจน 10000 เมตร

เปรียบเทียบให้เห็นภาพ ตอนเราเดินขึ้นภูกระดึงจากที่ทำการอุทยานไปจนหลังแป
นั่นคือความชันประมาณ 900 เมตร !
ฉะนั้น 10000 เมตรก็คือ ขึ้นลงภูกระดึงประมาณ 11 ครั้งติดต่อกัน !!!

ที่มาที่ไปของชื่อ 52.5Hz เมื่อทุกอย่างคือ data

จริง ๆแล้วเคยเขียนเรื่องวาฬ 52 Hz ไปแล้วหลายครั้ง
แต่คงหาอ่านได้จากหลาย ๆ ที่
เป็นเรื่องราวคลาสสิคที่กล่าวถึงวาฬตัวนึงที่ปราศจากฝูง
เนื่องจากมันไม่สามารถสื่อสารกับวาฬตัวอื่นได้
เพราะมันดันใช้คลื่นเสียงในย่านความถี่ 52 Hz ซึ่งไม่ได้อยู่ในย่านเดียวกับวาฬตัวอื่น
จึงไม่สามารถสื่อสารกับใครได้

เรื่องราวนี้มีทั้งจบแบบ แฮปปี้เอนดิ้ง คือสุดท้ายวาฬ 52 Hz ได้เจอกับวาฬตัวอื่น ที่ใช้ย่านความถี่เดียวกัน
และก็มีเพื่อนจนได้

และมีเรื่องราวที่จบไว้เพียงแค่ว่า วาฬ 52 Hz อยู่อย่างเดียวดาย ….

ไม่มีใครรู้ว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องจริงแค่ไหน หรือจบยังไง
แต่มันประทับใจผู้คนมากมาย จนกลายเป็นทั้งชื่อ page ชื่อหนังสือ และอื่น ๆ อีกมากมาย